9.7.52

ต้นประดู่บ้าน
ชื่อทั่วไป - ประดู่บ้าน
ชื่อสามัญ - Burmese Rosewood
ชื่อวิทยาศาสตร์ - Pterocarpus indicus Willd.
วงศ์ - LEGUMINOSAE
ชื่ออื่นๆ - ประดู่กิ่งอ่อน สะโน อังสนา ดู่บ้าน, ประดู่ลาย, ประดู่ไทย ,
ถิ่นกำเนิด - มาเลเซีย แถบทะเลอันดามัน มัทราช และอ่าวเบงกอล
ประเภท - ไม้ยืนต้น
รูปร่างลักษณะ - ไม้ต้นผลัดใบสูง 15 – 30 เมตรเรือนยอดรูปกลมหรือรูปร่ม ทึบ ปลายกิ่งจะห้อยย้อยลงเปลือกสีน้ำตาลคล้ำ แตกเป็นสะเด็ดทั่วไป เปลือกในมีน้ำเลี้ยงสีแดง
- ใบประกอบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยเรืองสลับกัน 4 – 10 ใบ
- ดอก รูปดอกถั่วสีเหลือง กลิ่นหอมอ่อน ออกรวมกันเป็นช่อตามง่ามใบหรือปลายกิ่ง ช่อยาว 20 – 30 เซนติเมตร ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน
- ผล รูปโล่ มีครีบเป็นแผ่นกลม ตรงกลางนูน กว้าง 3 – 4 เซนติเมตร
การขยายพันธ์ - โดยการเพาะเมล็ดในถุงเพาะกล้าจนงอก และแข็งแรงก่อนจึงย้ายไปปลูก
ลงดิน และปักชำกิ่ง
สภาพที่เหมาะสม - พบในป่าดิบภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปสามารถปลูกได้ทั่วไป
องการน้ำปานกลาง
ประโยชน์ - เนื้อไม้ใช้ทำสิ่งปลูกสร้าง เปลือกให้น้ำฝาดสำหรับฟอกหนัง และให้สีน้ำ
ตาลสำหรับย้อมผ้า แก่นให้สีแดงคล้ำ

ไม่มีความคิดเห็น:

แผนที่บ้านช่างจำนงค์


ดู มีดช่างจำนงค์ ในแผนที่ขนาดใหญ่กว่า

ไม้เสลา

มีดเหน็บ 50

มีดเหน็บ 51

มีเหน็บ 52

มีดเหน็บ 53

มีดเหน็บ 54

มีดเหน็บ 55

มีเหน็บ 56

มีดเหน็บ 57

มีดเหน็บ 58