10.7.52

ต้นพะยูง
ชื่อทั่วไป - พะยูง
ชื่อสามัญ - Siamese Rosewood
ชื่อวิทยาศาสตร์ - Dalbergia cochinchinensis Pierre
วงศ์ - DIPTEROCARPACEAE
ชื่ออื่นๆ - ขะยุง แดงจีน ประดู่เสน,กระยง กระยูง , ประดู่ตม , ประดู่ลาย , พะยูง-ไหม
ถิ่นกำเนิด - ป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณชื้น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก
ประเภท - ไม้ยืนต้น
รูปร่างลักษณะ - ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 15 – 25 เมตร เปลือกสีเทาเรียบ เรือนยอดทรงกลมหรือรูปไข่
- ใบ ประกอบแบบขนนก ปลายคี่ เรียงสลับ ใบย่อยเรียงสบับบนแกนกลาง7 – 9 ใบ กว้าง 3 – 4 เซนติเมตร ยาว 4 – 7 เซนติเมตร ปลายแหลมโคนสอบ ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีจาง
- ดอก เล็ก สีขาว กลิ่นหอมอ่อน ออกเป็นช่อตามง่ามใบและตามปลายกิ่ง
ออกดอก พฤษภาคม – กรกฏาคม ฝักแก่ กรกฏาคม – กันยายน
- ผล เป็นฝัก รูปขอบขนานแบน บาง กว้าง 1.2 เซนติเมตร ยาว 4 – 6เซนติเมตร เมล็ด มี 1 – 4 เมล็ดเมล็ดรูปไตสีน้ำตาลเข้ม
การขยายพันธ์ - ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด
สภาพที่เหมาะสม - ดินทุกชนิด ทนแล้ง ขึ้นได้ในป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณชื้นทั่ว ๆ ไปโดยเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก
ประโยชน์ - เนื้อไม้ละเอียด แข็งแรง ทน ขัดและชักเงาได้ดี ใช้ทำเครื่องเรือน เกวียน
เครื่องกลึง แกะสลัก ทำเครื่องดนตรี เช่น ซอ ขลุ่ย ลูกระนาด

ไม่มีความคิดเห็น:

แผนที่บ้านช่างจำนงค์


ดู มีดช่างจำนงค์ ในแผนที่ขนาดใหญ่กว่า

ไม้เสลา

มีดเหน็บ 50

มีดเหน็บ 51

มีเหน็บ 52

มีดเหน็บ 53

มีดเหน็บ 54

มีดเหน็บ 55

มีเหน็บ 56

มีดเหน็บ 57

มีดเหน็บ 58