9.7.52

ประดู่ป่า
ชื่อพื้นเมือง: จิต๊อก ดู่ ประดู่เสน
ลักษณะทั่วไป: ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงถึง 30 เมตรผลัดใบเรือนยอดรูปกรวยหรือรูปไข่ เปลือกนอกหนาสีนำตาลอมเทาแตกหยาบๆเป็นร่องลึก
ใบ: ประกอบขนนกเรียงสลับ 4-10ใบ แผ่นใบเป็นรูปคล้ายๆไข่
ดอก: ดอกสีเหลือง มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อยาว 10-20 เซนติเมตรตามง่ามใบ ดอก ออก มี.ค-พ.ค
ผล: รูปโล่แบนบางตรงกลางนูน ผลออก มิ.ย-ส.ค
ด้านภูมิทัศท์: เป็นไม้ขนาดใหญ่ให้รมเงาดีมาก
ประโยขน์: ใบพอกบาแผล แก้ผลผื่นคัน เปลือกต้นแก้ท้องเสียและใช้นำฝาดสีนำตาลใช้ย้อมผ้าปุ่มประดู่มีลวดลายสวยงาม ราคาแพง
คนไทยโบราณเชื่อว่า: บ้านใดปลูกต้นประดู่ไว้ประจำบ้านจะทำให้เกิดพลังแห่งความยิ่งใหญ่ ประดู่ คือ ความพร้อมความร่วมมือ ร่วมใจสามัคคี มีพลังเป็นอันหนึ่งอีนเดี่ยวกัน นอกจากนี้ดอกประดู่ยังมีลักษณะที่ระดมกันบานเมต้นดูลายตา ดังนั้นคนโบราณจึงได้เลือกเอาต้นประดู่เป็นไม้ประจำกองทัพเรือ และส่วนแก่นไม้ยังใช้เป็นศิลปะการดนตรี ที่คำคัญของคนไทยพื้นเมืองในสมัยโบราณ คือ ใช้ทำเป็นเครื่องเสียงพวกระนาด นั่นก็หมายถึง ความแข็งแกร่ง แข็งแรง

ไม่มีความคิดเห็น:

แผนที่บ้านช่างจำนงค์


ดู มีดช่างจำนงค์ ในแผนที่ขนาดใหญ่กว่า

ไม้เสลา

มีดเหน็บ 50

มีดเหน็บ 51

มีเหน็บ 52

มีดเหน็บ 53

มีดเหน็บ 54

มีดเหน็บ 55

มีเหน็บ 56

มีดเหน็บ 57

มีดเหน็บ 58